Nomophobia เป็นหนึ่งในกลุ่มอาการของโรคกลัว (Phobia) ที่ผลให้ผู้ป่วยหวาดกลัวต่อสิ่งของหรือสถานการณ์นั้นอย่างรุนแรง คำว่า Nomophobia ย่อมาจาก No-Mobile-phone Phobia จึงถูกนำมาใช้อธิบายความกลัวอย่างรุนแรงที่ต้องห่างจากการใช้โทรศัพท์มือถือหรือไม่ได้ติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานานไม่ว่าด้วยเหตุ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
เช็กอาการ Nomophobia ปัญหาน่าห่วงของคนยุคดิจิทัล
-
ปวดหัวบ่อย รับมืออย่างไร อาการแบบไหนต้องไปพบแพทย์
หลายคนอาจรู้สึกปวดหัวบ่อย เป็น ๆ หาย ๆ จนกลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว ซึ่งแต่ละคนอาจแก้อาการปวดหัวด้วยวิธีที่แตกต่างกัน เช่น กินยา ดื่มกาแฟ หรืองีบหลับ แต่หากปวดหัวบ่อยจนรบกวนการใช้ชีวิตประจำหรือปวดหัวอย่างรุนแรงก็อาจไม่ใช่เรื่องปกติอีกต่อไป อาการปวดหัวเป็นอาการทั่วไปที่เกิดได้กับทุกคน แต่สาเหตุที่ปวดหั...(อ่านเพิ่มเติม)
-
เทคนิคเพิ่มความมั่นใจง่าย ๆ ด้วยตัวเอง
ความมั่นใจเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่กระตุ้นให้เราสามารถบรรลุเป้าหมายในชีวิต คนที่มีความมั่นใจในตัวเองจะเชื่อมั่นว่าตัวเองมีความสามารถเพียงพอในการทำบางสิ่งให้สำเร็จลุล่วง กล้าคิดและตัดสินใจโดยไม่ปิดกั้นตัวเองเมื่อมีโอกาสที่ดีเข้ามา อย่างไรก็ตาม ความมั่นใจควรอยู่ในระดับที่พอดี หากมั่นใจมากเกินไปอาจทำให้...(อ่านเพิ่มเติม)
-
Social Phobia ทำความเข้าใจโรคกลัวสังคมให้มากขึ้น
Social Phobia หรือโรคกลัวสังคม เป็นสภาวะทางจิตใจรูปแบบหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนในสังคม โดยเป็นอาการในระยะยาวที่เกิดจากความวิตกกังวลและความกลัวเมื่อต้องเข้าสังคมหรือเมื่อต้องพบปะผู้คน ซึ่งโรคกลัวสังคมนี้อาจส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันและความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ ความตื่นเต้นหรื...(อ่านเพิ่มเติม)
-
นอนเยอะ อันตรายต่อสุขภาพที่คาดไม่ถึง
หลายคนคงเคยได้ยินเกี่ยวกับความสำคัญของการพักผ่อนอย่างเพียงพอในแต่ละคืน แน่นอนว่าการที่ร่างกายได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอจะช่วยให้มีสุขภาพดี แต่ในทางตรงกันข้ามหากนอนเยอะเกินไปก็อาจส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพหรือโรคต่าง ๆ ตามมา ในบทความนี้จะมาเล่าถึงสาเหตุของการนอนเยอะเกินไปและความอันตรายที่อาจเกิดขึ้...(อ่านเพิ่มเติม)
-
วิธีจัดการกับความวิตกกังวลด้วยตนเอง
ความรู้สึกวิตกกังวลเป็นปฏิกิริยาการตอบสนองตามปกติของร่างกายเมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ทำให้รู้สึกเครียดหรือกดดัน สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนและเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา การเรียนรู้วิธีการรับมือด้วยตนเองอาจช่วยลดความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นได้อย่างง่าย ๆ และมีประสิทธิภาพ ความวิตกกังวลเกิดขึ้นเมื่อสมองรับรู้ถึงค...(อ่านเพิ่มเติม)
-
เข้าใจโรคหลงตัวเอง อาการแบบไหนเรียกป่วย
โรคหลงตัวเอง (Narcissistic Personality Disorder: NPD) เป็นโรคบุคลิกภาพผิดปกติชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมักจะมีลักษณะนิสัยที่ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง อยากให้คนอื่นยกย่องชมเชยและเห็นความสำคัญของตนเองมากจนเกินไป หลายคนอาจสงสัยว่าอาการแบบไหนเข้าข่ายโรคหลงตัวเองกันบ้าง เพราะบางพฤติกรรมเหล่านี้อาจแยกได้ยาก ผู้ที่ป่ว...(อ่านเพิ่มเติม)
-
นอนกระตุก รู้จักสาเหตุและวิธีรับมือ
นอนกระตุก (Hypnic Jerk) เป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายระหว่างนอนหลับที่เกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจและไม่รู้ตัว บางรายอาจมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น รู้สึกคล้ายตกจากที่สูง หัวใจเต้นรัว หรือหายใจถี่ มักจะพบช่วงก่อนจะผล็อยหลับและเป็นเหตุให้สะดุ้งตื่นขึ้นได้ อาการกระตุกขณะนอนหลับเป็นอาการที่พบได้ทั่วไป ส่วนใหญ่ไม...(อ่านเพิ่มเติม)
-
การดูแลผู้สูงอายุในช่วง COVID-19 กลุ่มเสี่ยงที่ควรใส่ใจเป็นพิเศษ
หากวิเคราะห์จากยอดผู้เสียชีวิตในประเทศไทยในตอนนี้ เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า โรคโควิด-19 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุมากกว่าช่วงวัยอื่น เนื่องจากเป็นช่วงอายุที่จำนวนการเสียชีวิตจากโรคนี้มากที่สุด เราจึงควรทำความเข้าใจถึงความเสี่ยงจากโรคและเพิ่มความใส่ใจในการดูแลผู้สูงอายุในช่วงนี้เป็นพิเศษ ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
หลากสาเหตุอาการปวดหัวในเด็ก เรื่องที่พ่อแม่อาจไม่รู้
อาการปวดหัวในเด็กเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นจากการเจ็บป่วย การบาดเจ็บ หรือพฤติกรรมบางอย่างที่ทำให้เกิดอาการ แม้ว่าอาการปวดหัวจะในเด็กจะพบได้ทั่วไปและมักไม่เป็นอันตราย แต่ก็อาจส่งผลต่อการทำกิจกรรมและอารมณ์ของเด็กได้ ดังนั้น พ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูจึงควรหมั่นสังเกตอาการอยู่เสมอ ลักษณะอาการปวดหัวข...(อ่านเพิ่มเติม)