โอมิครอน อาการที่ควรสังเกตกับวิธีดูแลตัวเองเมื่อกักตัวอยู่บ้าน

โอมิครอน (Omicron: B.1.1.529) เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ยอดผู้ป่วยโรคโควิด-19 (COVID-19) เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมาก ทั้งจากผู้ป่วยที่ติดเชื้อซ้ำหรือติดเชื้อหลังฉีดวัคซีนไปแล้ว โดยอาจก่อให้เกิดอาการที่แตกต่างจากสายพันธุ์เดิมไม่น้อยเลย พบแพทย์จึงอยากชวนทุกคนมารู้จักกับอาการโควิด-19 ของสายพันธุ์โอมิครอน พร้อมวิธีดูแลตัวเองอย่างถูกต้องเมื่อต้องกักตัวที่บ้าน (Home Isolation)

โอมิครอน อาการที่ควรสังเกตกับวิธีดูแลตัวเองเมื่อกักตัวอยู่บ้าน

โอมิครอนนั้นแพร่กระจายได้รวดเร็วกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิม และอาจเร็วกว่าสายพันธุ์ที่น่ากังวลอย่างเดลตา (Delta) ทว่าอาจไม่ก่อให้เกิดอาการรุนแรงเท่า แม้จะฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้วหรือไม่มีอาการแสดงออกมาหลังติดเชื้อก็ตาม ผู้ป่วยโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอนอาจแพร่กระจายเชื้อไวรัสไปสู่ผู้อื่นได้ การกักตัวที่บ้านจึงอาจช่วยลดการส่งต่อเชื้อไปสู่คนในครอบครัวหรือในสังคมได้

สุดท้ายนี้ ผู้ป่วยควรหมั่นสังเกตหรือจดบันทึกอาการของตัวเองในระหว่างการกักตัวอยู่เสมอ หากเกิดอาการหายใจลำบาก เจ็บหน้าอก และอาการโรคหลอดเลือดสมองที่อาจรุนแรงจนนำไปสู่การเสียชีวิต ควรรีบแจ้งให้แพทย์หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทราบโดยเร็ว เพื่อส่งตัววินิจฉัยและรับการรักษาอย่างทันท่วงที

เขียนโดย กองบรรณาธิการ POBPAD
อัพเดทล่าสุด 23 มีนาคม 2565
ตรวจสอบความถูกต้องโดย พญ. กิติยา สันติพาณิชย์วงศ์

เอกสารอ้างอิง

  • Shi, Z., & Puyo, C.A. (2020). N-Acetylcysteine to Combat COVID-19: An Evidence Review. Therapeutics and Clinical Risk Management, 16, pp. 1047-1055.
  • World Health Organization (2021). Episode #63 - Omicron Variant.
  • World Health Organization. #HealthyAtHome : Healthy Diet.
  • World Health Organization. Regional Office for Europe. Stay Physically Active During Self-quarantine.
  • Centers for Disease Control and Prevention (2021). Omicron Variant: What You Need to Know.
  • Centers for Disease Control and Prevention (2021). What You Need to Know About Variants.
  • Ministry of Public Health (2022). Department of Medical Services. แนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ในการให้คำแนะนำผู้ป่วยและการจัดบริการผู้ป่วยโควิด-19 แบบ Home Isolation ฉบับปรับปรุง วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2565. 
  • Ministry of Public Health (2021). Department of Medical Services. ฉบับปรับปรุง วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 สําหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). 
  • Ministry of Public Health (2021). Department of Mental Health. โอไมครอน พบ 5 อาการใหม่ เหงื่อออกตอนกลางคืนขณะนอนหลับ ถึงกับเปียกโชก.
  • National Health Service England. Every Mind Matters. 9 Tips to Help If You Are Worried About COVID-19.
  • Ruenraroengsak, P. Mahidol University (2021). Faculty of Pharmacy. ห้องแยกผู้ป่วยและแนวทางการกักตัวที่บ้านเพื่อลดการแพร่เชื้อของผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19.
  • Mayo Clinic (2022). Treating COVID-19 at Home: Care Tips for You and Others.
  • Olson, E. Mayo Clinic (2018). Lack of sleep: Can It Make You Sick?.
  • Bahl, R. Healthline (2022). Here’s When to Go to the ER with Omicron Surging and Hospitals Full.
  • Curley, B. Healthline (2022). Omicron Symptoms: How They Compare with Other Coronavirus Variants.
  • Nicola Say, Y. Healthline (2021). WHO Declares Omicron a COVID-19 ‘Variant of Concern’ — What We Know.
  • Cohut, M. Medical News Today (2022). Omicron Infection: What Are the Symptoms?.