หัวใจเต้นช้า คือภาวะอัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 60 ครั้งต่อ 1 นาที ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ไม่เต็มที่ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันได้ โดยเฉพาะการออกกำลังกายที่จะส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้น ทว่าการออกกำลังก็เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรงและทำงานไ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
หัวใจเต้นช้าและวิธีออกกำลังกายที่เหมาะสม
-
กะหล่ำดอกกับประโยชน์น่ารู้ด้านสุขภาพ
กะหล่ำดอก ไม่เพียงนิยมนำมาทำเป็นอาหาร แต่เสมือนเป็นยาบำรุงสุขภาพและต้านโรคไปในตัว เพราะอุดมด้วยสารอาหารที่มีคุณค่านานาชนิด เชื่อกันว่ากะหล่ำดอกมีสรรพคุณป้องกันปัญหาสุขภาพ เช่น โรคลักปิดลักเปิด กระดูกพรุน ภาวะวัยทอง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง เป็นต้น กะหล่ำดอกจัดเป็นพืชในตระกูลกะหล่ำเช...(อ่านเพิ่มเติม)
-
แครนเบอร์รี่ ดีต่อสุขภาพจริงหรือ ?
แครนเบอร์รี่ เป็นผลไม้รสเปรี้ยวที่เชื่อว่าอาจช่วยป้องกันโรคหัวใจ บรรเทาอาการไข้หวัด รักษาโรคติดเชื้อบางชนิด และยับยั้งการติดเชื้อเอชไพโลไร (H. Pylori) ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและมะเร็งกระเพาะอาหาร แครนเบอร์รี่เป็นแหล่งวิตามินและเกลือแร่หลากชนิด ทั้งวิตามินซี วิตามินอี วิตามินเค...(อ่านเพิ่มเติม)
-
สตรอเบอร์รี่ ผลไม้ยอดนิยมที่มีประโยชน์มากมาย
สตรอเบอร์รี่ เป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุ และสารต้านอนุมูลอิสระมากมาย หลายคนจึงเชื่อว่าการบริโภคสตรอเบอร์รี่อาจมีประโยชน์ต่อสุขภาพด้านต่าง ๆ เช่น ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและความดันโลหิต ป้องกันโรคเบาหวานและโรคมะเร็ง คนนิยมบริโภคสตรอเบอร์รี่เพราะมีรสชาติอร่อยแบบเปรี้ยวอมหวาน และยังมีสารอาหารที...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ลูกหว้า มีสรรพคุณทางยา รักษาโรคได้จริงหรือ
ลูกหว้า เป็นผลไม้สีม่วงเข้มลักษณะคล้ายลูกองุ่น มีรสชาติหวานออกฝาดเล็กน้อย บางคนไม่เพียงรับประทานเป็นอาหาร แต่ยังนำส่วนประกอบต่าง ๆ ของพืชชนิดนี้ เช่น เมล็ด ใบ เปลือก และผลหว้ามาใช้เป็นยารักษาโรคหลายชนิดตามตำรับยาสมุนไพร ลูกหว้าเป็นพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เนื่องจากอุดมไปด้วยสารอาหารหลายชนิด ไม...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ความดันต่ำ รักษาได้ด้วยการดื่มแอลกอฮอล์จริงหรือ
ผู้ที่มีความดันต่ำอาจเคยได้ยินความเชื่อที่ว่าการดื่มแอลกอฮอล์ช่วยให้ความดันสูงขึ้นได้ แต่แท้จริงแล้ว เหล้า เบียร์ ไวน์ หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชนิดต่าง ๆ นั้นส่งผลต่อความดันโลหิตของคนเราอย่างไร เป็นทางออกสำหรับผู้ที่มีภาวะความดันต่ำจริงหรือไม่ ดื่มหรือไม่ดื่ม แบบไหนดีต่อภาวะความดันโลหิตต่ำ เมื่อเค...(อ่านเพิ่มเติม)
-
มะเขือยาว สรรพคุณทางการรักษา และความปลอดภัยในการบริโภค
มะเขือยาวเป็นพืชสวนครัวที่อุดมไปด้วยวิตามินและเกลือแร่ จึงเชื่อว่ามะเขือยาวอาจส่งผลดีต่อสุขภาพและอาจช่วยรักษาป้องกันโรคบางชนิดได้ โดยสารอาหารในมะเขือยาวที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ได้แก่ เส้นใยอาหาร โปรตีน คาร์โบไฮเดรต แมงกานีส โพแทสเซียม โฟเลต วิตามินซี และวิตามินเค แม้มะเขือยาวเป็นแหล่งโภชนาการที่สำค...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ถั่วเขียวรักษาโรคได้จริงหรือ
ถั่วเขียว เป็นธัญพืชที่คนไทยนิยมนำมาทำเป็นเมนูของหวานหลากหลายชนิด เช่น ถั่วเขียวต้มน้ำตาล ถั่วแปป ถั่วกวน เต้าส่วน หรือแปรรูปเป็นเครื่องดื่ม นอกจากรสชาติที่อร่อยถูกปากและรับประทานง่ายแล้ว ถั่วเขียวยังอุดมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทั้งยังเชื่อกันว่าอาจช่วยรักษาปัญหาสุขภาพบางชนิดได้ด้วย ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
โอเมก้า 3 สารอาหารแห่งการเสริมเทโลเมียร์
โอเมก้า 3 เป็นสุดยอดสารอาหารชะลอวัยที่กล่าวกันว่าส่งผลดีต่อการสร้างเทโลเมียร์ (telomere) หรือส่วนปลายของโครโมโซม ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่ช่วยไขความลับในเรื่องอายุขัยและความเสี่ยงในการเกิดโรคเรื้อรังบางชนิด เทโลเมียร์เปรียบเสมือนตัวบ่งบอกอายุของเซลล์หรืออายุขัยของสิ่งมีชีวิต ยิ่งเทโลเมียร์มีความยาวเท่า...(อ่านเพิ่มเติม)
-
มันเทศ ประโยชน์ต่อสุขภาพ และคำแนะนำในการบริโภค
มันเทศ อุดมไปด้วยแหล่งอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร วิตามิน เอ วิตามิน ซี แคลเซียม โพแทสเซียม และสารต้านอนุมูลอิสระเบต้าแคโรทีน ทำให้มีความเชื่อว่า มันเทศอาจมีประโยชน์ต่อสุขภาพ และอาจรักษาหรือป้องกันโรคบางชนิดได้ มันเทศเป็นพืชที่มีหัวอยู่ใต้ดิน มีรสหวาน มีเนื้อในหลากสีสันตามสายพันธุ์ เช...(อ่านเพิ่มเติม)