สารกันบูด คือ วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ถนอมอาหารและยืดอายุในการเก็บรักษา ซึ่งหากรับประทานอาหารที่เจือปนสารกันบูดในปริมาณมาก อาจทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ อาเจียน ท้องเสีย หรือหมดสติได้ ดังนั้น ผู้บริโภคจึงควรระมัดระวังในการเลือกรับประทานอาหารแปรรูปมากเป็นพิเศษ เพราะอาจมีสารกันบูดเจือปนอยู่ในปริมาณที่เป็นอัน...(อ่านเพิ่มเติม)
-
สารกันบูด อันตรายจริงหรือ ?
-
บอแรกซ์ สารอันตรายที่แฝงอยู่ในอาหาร
บอแรกซ์ เป็นสารอันตรายที่อาจถูกนำมาประกอบอาหารเพื่อเพิ่มความกรอบและเหนียวนุ่ม กระทรวงสาธารณสุขไทยได้กำหนดข้อบังคับห้ามใช้สารดังกล่าวในอาหารไว้อย่างเคร่งครัด เนื่องจากสารบอแรกซ์อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายด้านต่าง ๆ ได้ อย่างทำให้ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร ไตทำงานล้มเหลว หรือเสียชีวิตได้ อย่างไรก็ตา...(อ่านเพิ่มเติม)
-
วัคซีนบาดทะยัก รู้ทัน ป้องกันโรค
วัคซีนบาดทะยัก เป็นวิธีป้องกันโรคบาดทะยักที่มีประสิทธิภาพที่สุด และจัดเป็นวัคซีนในโปรแกรมพื้นฐานที่เด็กทุกคนควรได้รับการฉีด ส่งผลให้ในปัจจุบันมีแนวโน้มอัตราการป่วยและการตายจากโรคบาดทะยักลดลงอย่างมาก วัคซีนบาดทะยักมีกี่ชนิด และแต่ละชนิดควรฉีดเมื่อไร ศึกษาได้จากบทความนี้ โรคบาดทะยักเป็นโรคร้ายแรงที่...(อ่านเพิ่มเติม)
-
โรคหัด กับการป้องกันด้วยวัคซีน
โรคหัดเป็นโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากไวรัส ส่วนใหญ่มักเกิดในเด็กเล็ก โดยผู้ป่วยจะมีไข้ น้ำมูกไหล ไอ ตาแดง เจ็บคอ และมีผื่นขึ้นตามร่างกาย ซึ่งอาการป่วยอาจรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันมีวัคซีนที่สามารถป้องกันโรคหัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ขวดน้ำปล่อยสารอันตรายออกมาได้จริงหรือ ?
ขวดน้ำ เป็นของใกล้ตัวที่ใช้กันมากในชีวิตประจำวัน แต่ยังมีหลายคนสงสัยถึงความปลอดภัยของขวดน้ำดื่มพลาสติก ว่าหากนำกลับมาใช้งานซ้ำ นำไปไว้ในช่องแช่แข็ง หรือทิ้งไว้ในรถที่จอดกลางแดดร้อนจัด อาจทำให้ขวดน้ำปล่อยสารอันตรายออกมาปนเปื้อนในน้ำดื่มและก่อให้เกิดอันตรายเมื่อนำมาบริโภคได้ แต่แท้จริงแล้วความเชื่อดั...(อ่านเพิ่มเติม)
-
หัดเยอรมันป้องกันได้ เสริมภูมิคุ้มกันร่างกายด้วยวัคซีน
หัดเยอรมันอาจเป็นโรคไม่รุนแรงสำหรับคนส่วนใหญ่ แต่เป็นอันตรายต่อสตรีมีครรภ์และทารก เพราะสามารถนำไปสู่ภาวะแท้ง ทารกเสียชีวิตหลังการคลอด หรือเกิดความผิดปกติแต่กำเนิด โดยการป้องกันโรคอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การฉีดวัคซีนหัดเยอรมันแต่เนิ่น ๆ เพื่อสร้างภูมิต้านทานโรคให้แก่ร่างกายและลดการแพร่กระจายของเชื้อน...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ยาปฏิชีวนะ กินอย่างไรให้ได้ผล ปลอดภัย ไม่ดื้อยา
ด้วยสรรพคุณของยาปฏิชีวนะที่ช่วยฆ่าเชื้อโรค หลายคนมักเข้าใจผิดว่ายาชนิดนี้อาจรักษาการติดเชื้อได้หลากหลายและอาจเร่งให้หายจากโรคได้ไวขึ้น แท้จริงแล้วการใช้ยาผิดวัตถุประสงค์อาจเป็นอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต จึงควรเลือกใช้ยาแต่ละชนิดให้เหมาะกับเป้าหมายการรักษา โดยเฉพาะการใช้ยาปฏิชีวนะ เพื่อความปลอดภัยและใช้ยา...(อ่านเพิ่มเติม)
-
อะดรีนาลีน เรื่องควรรู้สำหรับผู้ป่วยอาการแพ้ Anaphylaxis
อะดรีนาลีน คือฮอร์โมนที่ต่อมหมวกไตหลั่งออกมาเพื่อตอบสนองปฏิกิริยาของร่างกายที่สั่งให้ต่อสู้หรือหนีเมื่อตกอยู่ในเหตุการณ์อันตราย ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็ว บีบตัวแรง และหลอดลมในปอดขยายตัวขึ้น นอกจากนี้ แพทย์ยังนำอะดรีนาลีนสังเคราะห์หรือที่เรียกว่าเอพิเนฟริน (Epinephrine) มาใช้รักษาภาวะ Anaphylaxis ซึ่งเป็น...(อ่านเพิ่มเติม)
-
สารหนู พิษร้ายอันตรายถึงชีวิต
สารหนู คือสารพิษที่เป็นอันตรายร้ายแรง การบริโภคอาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนสารชนิดนี้ในปริมาณมากเกินไป ตลอดจนการสูดหายใจหรือสัมผัสทางผิวหนัง อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาวหรือเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ สารหนูเป็นธาตุเคมีชนิดหนึ่งที่พบได้ตามธรรมชาติหรือเป็นสารที่มนุษย์สร้างขึ้น ส่วนใหญ่พบในกระบวนการทำเหมือง...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ยานัตถุ์ ใช้ไม่ระวังอาจเสี่ยงโทษ
ยานัตถุ์ เป็นยาแผนโบราณที่นิยมใช้มาอย่างยาวนาน เพราะเชื่อกันว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพและเป็นยาที่ใช้สูดเพื่อความเพลิดเพลินรูปแบบหนึ่ง ยานัตถุ์จัดเป็นยาสามัญประจำบ้านตามประกาศพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ของกระทรวงสาธารณสุข แต่ต้องเป็นสูตรที่ไม่มีส่วนผสมของยาเสพติดให้โทษ ยาอันตราย หรือยาควบคุมพิเศษเท่านั้น ...(อ่านเพิ่มเติม)